ดีชั่วเป็นของตัวเอง
ดีชั่วเป็นของต้วเอง เป็นของที่ตัวเองทำให้ตัวเองทั้งสิ้น เมื่อได้รับผลอย่างไร ไม่ควรไปโทษคนอื่นหรือสิ่งอื่นว่ามาทำให้ตัวเองเป็นอย่างนี้
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 58 การบังเกิดขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นการยาก (6)
กว่าจะได้มาเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทุกๆพระองค์จะต้องทรงผ่านการบำเพ็ญเพียรและสั่งสมบารมีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน เป็นเวลายาวนาน
ปาริฉัตรสวรรค์
สมัยใด ปาริชาตกัลปพฤกษ์ของเหล่าเทวดาชั้นดาวดึงส์บานเต็มที่แล้ว สมัยนั้นเหล่าเทวดาชั้นดาวดึงส์ ต่างพากันดีใจเป็นหนักหนา อิ่มเอิบพรั่งพร้อมไปด้วยเบญจกามคุณ บำรุงบำเรออยู่ตลอดระยะเวลา ๔ เดือนทิพย์ ณ ควงไม้ปาริชาตกัลปพฤกษ์ ดอกปาริชาตกัลปพฤกษ์บานเต็มที่นั้น จะแผ่รัศมีไปได้ ๕๐ โยชน์ในบริเวณรอบๆ จะส่งกลิ่นไปตามลมได้ ๑๐๐ โยชน์
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - เผชิญหน้าพญามัจจุราช
พระเถระได้อนุโมทนาในกุศลจิตของพระกุมาร แต่เมื่อตรวจดูอายุสังขารของพระกุมารแล้ว ได้บอกว่า พระกุมารจะมีชีวิตอยู่เพียง ๕เดือนเท่านั้น แม้ได้ทราบความนั้น พระราชกุมารก็ไม่ท้อใจ เพราะเข้าใจดีว่า คงเป็นกรรมในอดีตตามมาส่งผล ก็ไม่ได้หวาดหวั่นพรั่นพรึงอะไร จึงถามพระเถระถึงวิธีการที่จะหลุดพ้นจากความตาย
คนพาลย่อมได้ทุกข์
ตลอดระยะเวลาที่บาปยังไม่ให้ผล คนพาลสำคัญบาปหวานปานน้ำผึ้ง เมื่อใดบาปให้ผล เมื่อนั้นเขาย่อมได้ทุกข์
พิจารณาปล่อยวางในขันธ์ ๕
ภาชนะดินที่นายช่างทำแล้วทุกชนิด มีความแตกเป็นที่สุด แม้ฉันใด ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายที่เกิดมาแล้ว ล้วนมีความแตกสลายเป็นที่สุดฉันนั้น
ความตายคืออะไร ประเภทของความตาย เหตุเกิดขึ้นของความตาย
ความตายเป็นเพียงจุดสิ้นสุดของชีวิตในภพภูมิหนึ่งๆ เท่านั้น และความตายนี้ย่อมเป็นสิ่งที่น่ากลัวและไม่น่าปรารถนาของสรรพสัตว์ แต่ไม่ว่าเราจะปรารถนาหรือไม่ก็ตามเราทุกคนล้วนแต่ต้องตาย แต่ตายแล้วจะไปไหน
วางเฉยหรือหนีความจริง
คำถาม : การที่เราทำเฉยกับทุกเรื่องที่ทำให้เราเป็นทุกข์ ถือว่าเราหนีความจริงหรือเปล่าคะ
บุปผรัตตชาดก ชาดกว่าด้วยเป็นทุกข์เพราะภรรยาไม่ได้ผ้าย้อมดอกคำ
เมื่อทหารพาตัวชายผู้เป็นสามีมาถึงที่ ก็พาเขาไปเสียบที่หลาว เขาได้รับเวทนาแสนสาหัส ฝูงกาพากันไปเกาะที่ศีรษะ จิกนัยน์ตาด้วยจะงอยปากอันคมเหมือนปลายคีม ชายผู้นี้ไม่ได้ใส่ใจทุกขเวทนาที่ได้รับแม้แต่น้อย เขายังคงเฝ้าคิดถึงแต่หญิงอันเป็นที่รักเท่านั้น
The Noble Truth of Suffering : 5. Sorrow [soka dukkha]
The Buddha characterized the suffering of sorrow as afflicting one with burning in the heart as if the mind has list all refreshedness