เบื้องต้นเบื้องปลายไม่ปรากฏ
ดูก่อนภิกษุ เราตถาคตจะยกอุปมาให้เธอฟัง สมมติว่า มีภูเขาศิลาลูกใหญ่ยาว ๑ โยชน์ กว้าง ๑ โยชน์ สูง ๑ โยชน์ ไม่มีช่อง ไม่มีโพรง เป็นแท่งทึบ มีบุรุษผู้หนึ่งนำเอาผ้าขาวบางมาจากแคว้นกาสี แล้วเอาผ้านั้นลูบภูเขา ๑๐๐ ปีต่อครั้งหนึ่ง การที่ภูเขาศิลาใหญ่แท่งนั้นจะถึงความสิ้นไป เพราะความพยายามของบุรุษนั้น ยังเร็วกว่าระยะเวลาหนึ่งกัป ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอท่องเที่ยวไปมาอยู่ในวัฏสงสาร มิใช่ ๑ กัป มิใช่ ๑,๐๐๐ กัป มิใช่ ๑๐๐,๐๐๐ กัป เป็นเพราะว่า วัฏสงสารนี้กำหนดที่สุดและเบื้องต้นมิได้
พลิกวิกฤต..เพราะคิดบวช
ในชีวิตของมนุษย์นั้น ช่วงเวลาที่กล่าวได้ว่า เป็นวิฤตที่สุดของชีวิต ก็คือ ช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิต นั่นคือ ช่วงเวลาที่เราต้องเผชิญกับความตาย ซึ่งทุกท่าน ๆ ทราบดีอยู่แล้วว่า ทุกท่านนั้นต้องเผชิญกับช่วงเวลาวิกฤตนี้อย่างแน่นอน
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : เพียรบากบั่นต่อเนื่อง
ผู้ฉลาดย่อมเพ่งพินิจ พิเคราะห์ พิจารณา ผู้ฉลาดย่อมเห็นคุณค่าความเพียร ทำความเพียรไม่ลดละ
แพทย์เตือนภัยติดตั้งถังแก๊สในรถเหมือนพกระเบิด3พันปอนด์
เทศกาลออกพรรษาที่เชียงตุง
พระพุทธศาสนาในเชียงตุง เราจะไม่ทอดทิ้งกัน แม้ว่าจะมีความหลากหลายของเชื้อชาติ และเผ่าพันธุ์ แต่วัดคือศูนย์รวมจิตใจ ให้ชาวเชียงตุงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยไม่จำกัดว่า วัดนี้เป็นของใคร ส่วนใหญ่ชาวเชียงตุงจะมีวัดที่ไปบ่อยๆ หรือเป็นวัดที่บรรพบุรุษช่วยกันสร้าง แต่ประเพณีของเรา จะปลูกฝังให้ชาวเชียงตุงรักการทำบุญ และนิยมไปทำบุญกันหลายๆวัด จะเอาประเพณีเป็นตัวผลักดัน เรียกว่า สุข-ทุกข์ ก็ให้ไปวัด แม้ไม่มีอะไรมีแต่มือเปล่าก็มาวัดได้
ประกาศ "การสร้าง Content จาก AI ที่เนื่องด้วยมหาปูชนียาจารย์"
ประกาศเกี่ยวกับการสร้างเนื้อหาจาก AI ที่เนื่องด้วยมหาปูชนียาจารย์ เพื่อรักษาความถูกต้องและยั่งยืนของเนื้อหา.
ทุกข์เพราะกาม
“กาม” เป็นต้นเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดความหิวกระหายในใจของเรา ความอยากในกามได้คอยครอบงำ และบงการชีวิตเรา ให้เรารู้สึกไม่พอใจในสิ่งที่เรามี
ตรี นันทรัตน์ เชาวราษฎร์ในละครห้าห้องชีวิต "ห้องนางรำ"
ตรี นันทรัตน์ เชาวราษฎร์ในละครห้าห้องชีวิต "ห้องนางรำ" ความเหนื่อยหน่าย ท้อแท้ ผิดหวัง เสียใจ สุข ทุกข์ เศร้า เคล้าน้ำตา เกิดขึ้นได้แทบทุกวินาทีของเวลาในการใช้ห้องนี้ ที่ไม่ต่างจากช่วงเวลาของชีวิต ที่ใช้หาทรัพย์ภายในห้องทำงานของเรา..ทุกฉาก..ทุกเรื่องราวจะน่าติดตามเพียงใดมาติดตามกันค่ะ ...
ความตายคืออะไร ประเภทของความตาย เหตุเกิดขึ้นของความตาย
ความตายเป็นเพียงจุดสิ้นสุดของชีวิตในภพภูมิหนึ่งๆ เท่านั้น และความตายนี้ย่อมเป็นสิ่งที่น่ากลัวและไม่น่าปรารถนาของสรรพสัตว์ แต่ไม่ว่าเราจะปรารถนาหรือไม่ก็ตามเราทุกคนล้วนแต่ต้องตาย แต่ตายแล้วจะไปไหน
การควบคุมจิตด้วยปัญญา
ถ้าเรามีจิตไม่ถูกปรุงแต่ง ก็เรียกว่า เรามีจิตเป็นพุทธะขึ้นมา เป็นผู้รู้ขึ้นมาทันที รู้อะไรถูกต้องขึ้นมาแล้วก็เป็นตัวเองอย่างแท้จริง สภาพมันอยู่คงที่หน้าตาของมันดั้งเดิม ของมันปรากฏอยู่อย่างนั้น ไม่ถูกฉาบไปด้วยกิเลส เรียกว่า ไม่ถูกปรุงแต่ง สภาพจิตมันเป็นอย่างนั้น...