มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ให้บ่อยๆ รวยบ่อยๆ
ยาจกยังต้องขอบ่อยๆ ถ้าไม่ขอก็อด คำว่ายาจกคือคนขอทาน จะแตกต่างจากคำว่า สมณะ ซึ่งเป็นการขอแบบอริยะ ที่เป็นเนื้อนาบุญแก่ผู้ให้ทาน บุคคลสองประเภทนี้มีข้อวัตรปฏิบัติที่แตกต่างกันราวฟ้ากับดิน คุณธรรมก็ต่างกันเหมือน ก้อนกรวดเทียบกับภูเขา พวกยาจกจะขอด้วยการแสดงอาการอัน น่าสงสาร
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (5)
บุคคลอยู่ในเรือนของผู้ใดแม้คืนเดียว ได้กินข้าวและดื่มนํ้าแล้ว ไม่ควรคิดร้ายแก่ผู้นั้นแม้ด้วยใจ ผู้คิดร้ายต่อบุคคลเช่นนั้น ชื่อว่าเผาฝ่ามืออันชุ่ม และชื่อว่าประทุษร้ายมิตร บุคคลนั่งหรือนอนที่ร่มเงาของต้นไม้ใด ไม่ควรหักรานกิ่งของต้นไม้นั้น เพราะผู้ประทุษร้ายมิตรเป็นคนเลวทราม
วันอนุโมทนาบุญเจ้าภาพงานบวช ประจำปี 2562
ขอเชิญเจ้าภาพผู้ใจบุญทุกท่าน ร่วมงานวันอนุโมทนาบุญเจ้าภาพงานบวช ประจำปี 2562 วันที่เสาร์ ที่ 24 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องพุทธางกูร อาคารชมรมพุทธศาสตร์สากล
พระทศพลญาณ
มนุษย์ส่วนใหญ่ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ เพียงเพื่อให้รู้วิธีการประกอบอาชีพ ที่จะนำมาซึ่งปัจจัยสี่สำหรับหล่อเลี้ยงร่างกาย ให้ดำรงอยู่ในโลกนี้อย่าง
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - เลิศเฉพาะทาง เลิศทุกทาง
พระเถระได้วิสัชนาว่า “ขอถวายพระพร ข้อที่ตรัสว่า พระมหาโมคคัลลานะ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้มีฤทธิ์นั้นก็ถูก ข้อที่ว่าท่านถูกโจรทุบตีจนต้องนิพพานก็ถูก แต่การถูกทุบตีนั้น เป็นเพราะกรรมเข้ายึดไว้ คือ เป็นวิบากกรรมของท่าน ที่เคยถูกอกุศลเข้าสิงจิตให้กระทำปิตุฆาตและมาตุฆาตุ คือ ฆ่าพ่อฆ่าแม่มาก่อน ไม่มีใครหลีกเลี่ยงกฎแห่งการกระทำได้ สักวันย่อมต้องได้รับผลของกรรมนั้น”
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - พระปัญญาบริสุทธิ์
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบัณฑิต ผู้รู้ ผู้มีปัญญา ต้องดำรงตนเป็นทูตสันติภาพได้ด้วย นอกจากจะมีปฏิภาณที่ยอดเยี่ยมแล้ว ต้องไม่มีอคติความลำเอียง และต้องรู้จักแสวงจุดร่วมสมานจุดต่าง คอยประสานรอยร้าวเหมือนเป็นกาวใจ
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๔)
ความงามยามราตรีอยู่ที่รัศมีแห่งแสงจันทร์ ความงามของดวงตะวันอยู่ที่การทอแสงให้กับสรรพสัตว์และสรรพสิ่งทั้งหลาย
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพิชิตปัญหา
พระโพธิสัตว์ได้ใช้สติปัญญา แก้ข้อครหาของอำมาตย์ทั้ง ๕ คน เช่น เรียกให้อุจเฉทวาทีอำมาตย์เข้ามา พลางกล่าวว่า "ท่าน กล่าวว่า ทานที่บุคคลให้แล้วไม่มีผล และยังสำคัญว่า สัตว์ทั้งหลายย่อมขาดสูญในโลกนี้เท่านั้น สัตว์ผู้ไปสู่ปรโลกไม่มีเลย แล้วมาหัวเราะเยาะเราทำไม"
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ปุจฉา-วิสัชนา
ดังเช่นในสมัยพุทธกาล เหล่าทวยเทพในสวรรค์จะลงจากเทวโลก เพื่อมาฟังธรรมจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านถือว่าการมาฟังธรรมเป็นกรณียกิจที่สำคัญ เทวดาแต่ละองค์ที่ลงจากเทวโลกในยามราตรี ต่างไม่มาเปล่า ไม่ใช่เตรียมมาฟังธรรมอย่างเดียว ท่านจะเตรียมคำถามที่ดีๆไว้อย่างน้อย ท่านละ ๑คำถาม เพื่อนำมาทูลถามพระพุทธองค์
ถวายผ้าไตรจีวรเพื่อใช้ในการบรรพชาอุปสมบทหมู่ธรรมทายาทภาคฤดูร้อน