ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 1 ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระจอมมุนีทรงรุ่งเรืองด้วยประทีปคือปัญญา ได้ทรงชนะสัจจกนิครนถ์ผู้เป็นคนมืดบอด มีอัธยาศัยไม่ยอมรับความจริง มีใจคิดแต่จะยกตนข่ม ด้วยเดชแห่งพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นบุคคลผู้เลิศทั้งพระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ จะหาบุคคลใดๆ ในภพทั้งสาม มาเสมอเหมือนหรือ
ชัยชนะครั้งที่ 3 (ตอน ชนะช้างนาฬาคีรี)
พระผู้มีพระภาคเจ้าจอมมุนี ได้ชัยชนะต่อช้างตัวประเสริฐ ชื่อนาฬาคีรี ซึ่งเป็นช้างตกมัน สุดแสนที่จะทารุณร้ายกาจ ด้วยนํ้าพระเมตตา ด้วยเดชแห่งชัยชนะของพระพุทธเจ้านั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงบังเกิดมีแก่ท่าน
ความเชื่อไว้บนหิ้ง ความจริงต้องพิสูจน์
เหลืออีก 10 วัน จะออกพรรษากันแล้วเร็วจัง จริง ๆ เวลามันก็เดินเท่าเดิม แต่ความรู้สึกของนักสร้างบารมีจะมีความรู้สึกว่าเร็ว พรรษาหนึ่ง 90 วัน บอกกันมาตั้งแต่ต้นพรรษาแล้วว่า ต้องใช้วันเวลาทุกอนุวินาทีให้ มีคุณค่าต่อชีวิตด้วยการประพฤติธรรม สั่งสมความบริสุทธิ์กายวาจาใจเอาไว้มากๆ
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะสัจจก-นิครนถ์)
คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว เป็นสิ่งที่มีค่าเอนกอนันต์ ทุกถ้อยคำที่พระพุทธองค์ทรงแนะนำสั่งสอน ชี้แนะหนทางสว่าง
รักสุดซึ้งถึงปรโลก
สัตว์นรกบางพวกท่านก็เห็นแล้ว สัตว์เดียรัจฉาน เปรต อสูร มนุษย์ หรือเทวดาบางพวก ท่านก็เห็นแล้ว ผลกรรมของตน ท่านก็เห็นประจักษ์ด้วยตนเองแล้ว เราจักนำท่านไปส่งยังเมืองปาฏลีบุตร ท่านไปถึงเมืองปาฏลีบุตรแล้ว จงทำกรรมอันเป็นกุศลให้มาก
พุทธศาสนา ‘บูม’ ในรัสเซีย ชี้คำสอนพิสูจน์ได้จริง-เตรียมแปลพระไตรปิฎกรองรับ
คำพระตถาคต
สมัยนั้นแล เด็กอ่อนได้แต่นอน นั่งอยู่บนตักของอภัยราชกุมาร ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกะอภัยราชกุมารว่า ดูก่อนราชกุมาร ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน
อันเนื่องมาจากไข่เป็ด
ตอนนี้ใจของกระผมนอกจากจะมีดวงแก้วใสๆแล้ว กระผมยังมีคุณยายอาจารย์อยู่ในใจด้วย และกระผมคิดแต่เพียงว่า จะหาวิธีการอย่างไรที่จะทำกฐินคุณยายให้สำเร็จทันวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 และกระผมก็กำลังทำหน้าที่ชวนคนมาบวชแสนรูปควบคู่กันไปด้วยครับ
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - กัลยาณวาทะ
นิครนถ์นาฏบุตร เจ้าลัทธิเดียรถีย์ที่ไม่ชอบใจในพระบรมศาสดา เพราะศรัทธามหาชนของตนเองห่างเหินไป จึงแต่งปัญหาข้อหนึ่งเป็นโอวัฏฏิกสาระ คือปัญหาวนเวียน ไม่มีใครสามารถแก้ได้ ปัญหานี้นิครนถ์ใช้เวลา ๔ เดือน จึงคิดออก และยุให้อภัยราชกุมารเรียนปัญหานั้นจนแตกฉาน เพื่อจะได้ส่งไปโต้วาทะกับพระผู้มีพระภาคเจ้า