กรมประชาสัมพันธ์ จัดงานพบปะสังสรรค์สื่อมวลชน
กรมประชาสัมพันธ์จัดงาน "พบปะสังสรรค์สื่อมวลชน” เพื่อขอบคุณสื่อสาขาต่างๆ รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนที่ให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานของรัฐบาล และกรมประชาสัมพันธ์มาโดยตลอด
แถลงข่าวคณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกาย ประจำวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2559
เนื่องด้วยนายไพบูลย์ นิติตะวัน และพระสุวิทย์ วัดอ้อน้อย ซึ่งเป็นตัวตั้งตัวตีในการกดดันให้ดำเนินคดีกับพระเทพญาณมหามุนีนั้น เป็นผู้ต้องหาในคดีกบฏจากการ shut down กรุงเทพฯ ตามสำนวนคดีพิเศษที่ ๒๖๑/๒๕๕๖ คณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกายจึงขอเรียนถามความคืบหน้าในการดำเนินคดีดังกล่าว และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องจากกรมสอบสวนคดีพิเศษ ดังนี้
วัดพระธรรมกาย ร่วมยินดี นสพ.กรุงเทพธุรกิจ ครบ 23 ปี
ฝ่ายประชาสัมพันธ์ วัดพระธรรมกาย ร่วมแสดงความยินดีกับสำนักพิมพ์หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
บริจาคดวงตาเป็นทาน(อุปบารมี)
ผู้ให้ของชอบใจย่อมได้ของชอบใจ ผู้ให้ของเลิศย่อมได้ของเลิศ ผู้ให้ของดีย่อมได้ของดี ผู้ให้ของประเสริฐย่อมเข้าถึงฐานะอันประเสริฐ
การเป็นนักสร้างบุญบารมี
ทางมาแห่งบุญ หรือวิธีการเพื่อให้ได้บุญมาขจัดอุปสรรคของชีวิต เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ คือ สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือเรื่องที่จัดเป็นการทำบุญ เป็นหนทางในการทำความดีหรือเป็นทางมาแห่งบุญ มี ๓ ประการ คือ
การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
เมื่อเรื่องคนอื่น สำคัญกว่าเรื่องตนเอง
เมื่อยุ่งเรื่องของคนอื่นไม่ดีอย่างไร? การเคารพถึงสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น คำว่าไทยมุงกับสังคมไทย ความสนใจเรื่องคนคนอื่น ต้องอัพเดตข่าวสารเสมอๆ จะไม่ยุ่งเรื่องของคนอื่นก็ไม่ได้ จะมีวิธีคิดเรื่องนี้อย่างไร? ในต่างประเทศ การเคารพสิทธิส่วนบุคคลเป็นเรื่องสำคัญเเค่ไหน? จะมีวิธีใด? ที่ทำให้เราหันมาอยู่กับตัวเองมากขึ้น
พลิกชีวิตด้วยบุญทอดกฐิน
บทพิสูจน์อานุภาพแห่งบุญ...บุญ คือ เบื้องหลังความสุขความสำเร็จในชีวิต
อธิบดีกรมการศาสนาพุทธ ประเทศอินโดนีเซีย ร่วมงาน V-Star
อธิบดีกรมการศาสนาพุทธ ประเทศอินโดนีเซีย พร้อมคณะได้เดินทางมาเยี่ยมชมวัดพระธรรมกาย และร่วมงานเด็กดี V-Star ผู้นำฟื้นฟูศีลธรรมโลก ครั้งที่ 9
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี